หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในปี พ.ศ.2532และยังเป็นผู้ทุ่มเทเขียนรายงานนำเสนอต่อ
ยูเนสโก UNESCO เพื่อพิจารณาให้ ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและห้วยขาแข้ง เป็น มรดกโลกเพื่อให้พื้นที่
ป่าแห่งนี้ได้รับการคุ้มครองเต็มที่ได้ทำหน้าที่เป็นนักวิจัยศึกษาเรื่องพันธ์ไม้และสัตว์ป่ามากมาย
และวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2533 เป็นวันสุดท้ายของสืบ เขาเขียนพินัยกรรมไว้ และเสียสละชีวิตเพื่อเรียกร้อง
ให้สังคมและราชการหันมาสนใจปัญหาการทำลายทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง เนื่องจากผู้มีอิทธิพลและ
กลุ่มคนมาบุกรุกพื้นที่ทำลายป่ามาโดยตลอด การอนุรักษ์ป่าก็ถูกลดทอนความสำคัญจากภาครัฐเป็นอย่างมาก